การแบ่งสมัยของวรรณคดีไทยนิยมแบ่งตามช่วงระยะเวลาที่เกิดวรรณคดี
โดยยึดราชธานีเป็นหลัก ดังนี้
1. สมัยกรุงสุโขทัย ประมาณ พ.ศ.
1800 -1920
เป็นเวลา 120 ปี
ตั้งแต่การสร้างกรุงสุโขทัยจนถึงเสียอิสรภาพแก่กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1920
มีหลักฐานทางวรรณคดีปรากฏอยู่เพียง 2 รัชสมัย
คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)
2. สมัยกรุงศรีอยุธยา แบ่งเป็น 3
ระยะ คือ
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
จนถึงสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐา) พ.ศ. 1893
– 2072 เป็นระยะเวลา 179 ปี
จากนั้นวรรณคดีว่างเว้นไป 90 ปี เพราะบ้านเมืองไม่ปกติสุข
มีสงครามกับพม่า แบ่งออกเป็น 2 ระยะ
2.1 สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. 2153 – 2231 เป็นเวลา 78 ปี จากนั้นวรรณคดีว่างเว้นไปอีก 44ปี
2.2 สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2275 – 2310 เป็นเวลา 35 ปี
2.1 สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. 2153 – 2231 เป็นเวลา 78 ปี จากนั้นวรรณคดีว่างเว้นไปอีก 44ปี
2.2 สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2275 – 2310 เป็นเวลา 35 ปี
3. สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2310
– 2325 เป็นเวลา 15 ปี
4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. 2325
– 2394 เป็นระยะเวลา 69 ปี
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน หรือสมัยรับอิทธิพลตะวันตก ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2394 ถึงปัจจุบัน เป็นสมัยที่วรรณคดีไทยได้รับอิทธิพลจากตะวันตก รูปแบบของวรรณคดี เนื้อเรื่อง ตลอดจนความคิดในการเขียนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน หรือสมัยรับอิทธิพลตะวันตก ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2394 ถึงปัจจุบัน เป็นสมัยที่วรรณคดีไทยได้รับอิทธิพลจากตะวันตก รูปแบบของวรรณคดี เนื้อเรื่อง ตลอดจนความคิดในการเขียนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง
1.
วรรณคดีสมัยกรุงสุโขทัย
วรรณคดีสมัยกรุงสุโขทัยเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอยู่เพียง 2 รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) มีกวีและวรรณคดีที่สำคัญ คือ
1.1 สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช กวีที่สำคัญได้แก่
1) พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระราชนิพนธ์ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง เป็นวรรณคดีบันทึกประวัติความเป็นไปของ บ้านเมือง
วรรณคดีสมัยกรุงสุโขทัยเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอยู่เพียง 2 รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) มีกวีและวรรณคดีที่สำคัญ คือ
1.1 สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช กวีที่สำคัญได้แก่
1) พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระราชนิพนธ์ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง เป็นวรรณคดีบันทึกประวัติความเป็นไปของ บ้านเมือง
2) สุภาษิตพระร่วง
เป็นวรรณคดีประเภทคำสอน
1.2 สมัยพระยาลิไท กวีที่สำคัญ ได้แก่
1) พระยาลิไท ทรงพระราชนิพนธ์ ไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีเกี่ยวกับความคิด
และความเชื่อทางศาสนา
2) นางนพมาศ แต่ง นางนพมาศหรือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นเรื่องขนบธรรมเนียมประเพณี
2.
วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ถึงรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเชษฐา) พ.ศ.1893 – 2072 เป็นเวลา 179 ปี มีวรรณคดีสำคัญเกิดขึ้นเพียง 3 รัชสมัย คือ
2.1 สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ( พระเจ้าอู่ทอง) ลิลิตโองการแช่งน้ำ
2.2 สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มหาชาติคำหลวง ลิลิตยวนพ่าย
2.3 สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐา) สันนิษฐานว่ามี
ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ถึงรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเชษฐา) พ.ศ.1893 – 2072 เป็นเวลา 179 ปี มีวรรณคดีสำคัญเกิดขึ้นเพียง 3 รัชสมัย คือ
2.1 สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ( พระเจ้าอู่ทอง) ลิลิตโองการแช่งน้ำ
2.2 สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มหาชาติคำหลวง ลิลิตยวนพ่าย
2.3 สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐา) สันนิษฐานว่ามี
1) ลิลิตพระลอ
2) โคลงนิราศหริภุญชัย
3) โคลงทวาทศมาส
4) โคลงกำสรวล
3.
วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง
กวีและวรรณคดีที่สำคัญ มีดังนี้
กวีและวรรณคดีที่สำคัญ มีดังนี้
3.1 สมัยพระเจ้าทรงธรรม
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม กาพย์มหาชาติ
3.2 สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
1. โคลงพาลีสอนน้อง
2. โคลงทศรถสอนพระราม
3. โคลงราชสวัสดิ์
4. สมุทรโฆษคำฉันท์ตอนกลาง
5. บทพระราชนิพนธ์โคลงโต้ตอบกับกวีอื่นๆ
พระมหาราชครู
1. เสือโคคำฉันท์
2. สมุทรโฆษคำฉันท์ตอนต้น
พระโหราธิบดี
1. จินดามณี
2. พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ
ศรีปราชญ์
1. อนิรุทธคำฉันท์
2. โคลงเบ็ดเตล็ด
พระศรีมโหสถ
1. กาพย์ห่อโคลง
2. โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
3. โคลงอักษรสามหมู่
4. โคลงนิราศนครสวรรค์
ขุนเทพกวี
1. คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง
1. โคลงพาลีสอนน้อง
2. โคลงทศรถสอนพระราม
3. โคลงราชสวัสดิ์
4. สมุทรโฆษคำฉันท์ตอนกลาง
5. บทพระราชนิพนธ์โคลงโต้ตอบกับกวีอื่นๆ
พระมหาราชครู
1. เสือโคคำฉันท์
2. สมุทรโฆษคำฉันท์ตอนต้น
พระโหราธิบดี
1. จินดามณี
2. พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ
ศรีปราชญ์
1. อนิรุทธคำฉันท์
2. โคลงเบ็ดเตล็ด
พระศรีมโหสถ
1. กาพย์ห่อโคลง
2. โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
3. โคลงอักษรสามหมู่
4. โคลงนิราศนครสวรรค์
ขุนเทพกวี
1. คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง
4.
วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย
กวีและวรรณคดีที่สำคัญ
มีดังนี้
4.1 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แต่ง โคลงชะลอพุทธไสยาสน์
4.2 เจ้าฟ้าอภัย
แต่งโคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย
4.3 เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
แต่ง
1) นันโทปนันทสูตรคำหลวง
2) พระมาลัยคำหลวง
3) กาพย์เห่เรือ
4) กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
5) กาพย์ห่อโคลงนิราศ
6) เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
4.4 เจ้าฟ้ากุณฑล แต่ง บทละครเรื่องดาหลัง
4.5 เจ้าฟ้ามงกุฎ แต่ง บทละครเรื่องอิเหนา
1) นันโทปนันทสูตรคำหลวง
2) พระมาลัยคำหลวง
3) กาพย์เห่เรือ
4) กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
5) กาพย์ห่อโคลงนิราศ
6) เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
4.4 เจ้าฟ้ากุณฑล แต่ง บทละครเรื่องดาหลัง
4.5 เจ้าฟ้ามงกุฎ แต่ง บทละครเรื่องอิเหนา
4.6 พระมหานาควัดท่าทราย
แต่ง
1) ปุณโณวาทคำฉันท์
2) โคลงนิราศพระบาท
4.7 หลวงศรีปรีชา แต่ง
1) กลบทสิริวิบุลกิติ
2) บทละครนอก
5. วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี
กวีและวรรณคดีที่สำคัญ มีดังนี้
5.1 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แต่ง บทละครเรื่องรามเกียรติ์ 4 ตอน คือ
1) ปุณโณวาทคำฉันท์
2) โคลงนิราศพระบาท
4.7 หลวงศรีปรีชา แต่ง
1) กลบทสิริวิบุลกิติ
2) บทละครนอก
5. วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี
กวีและวรรณคดีที่สำคัญ มีดังนี้
5.1 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แต่ง บทละครเรื่องรามเกียรติ์ 4 ตอน คือ
1) ตอนพระมงกุฎประลองศร
2) ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน
3) ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ
4) ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด
พระลักษมณ์ต้องหอกกบิลพัท จนถึงตอนผูกผมทศกัณฐ์กับนางมณโฑ
5.2 พระภิกษุอินท์และพระยาราชสุภาวดี
แต่ง กฤษณาสอนน้องคำฉันท์
5.3 นายสวนมหาดเล็ก แต่ง โคลงยอพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
5.4 หลวงสรวิชิต (เจ้าพระยาพระคลัง (หน) แต่ง
1) อิเหนาคำฉันท์
5.3 นายสวนมหาดเล็ก แต่ง โคลงยอพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
5.4 หลวงสรวิชิต (เจ้าพระยาพระคลัง (หน) แต่ง
1) อิเหนาคำฉันท์
2) ลิลิตเพชรมงกุฎ
3) พระยามหานุภาพ
4) นิราศเมืองกวางตุ้ง
5) เพลงยาว
4) นิราศเมืองกวางตุ้ง
5) เพลงยาว
6.
วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
6.1 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 1 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่ง
1. เพลงยาวรบพม่าที่ท่าดินแดง
2. บทละครเรื่องอุณรุท
3. บทละครเรื่องรามเกียรติ์
4. บทละครเรื่องดาหลัง
5. บทละครเรื่องอิเหนา
6. กฎหมายตราสามดวง
2) สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท แต่ง
1. นิราศเสด็จไปรบพม่าที่นครศรีธรรมราช
2. เพลงยาวถวายพยากรณ์เมื่อเพลิงไหม้พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท
3. เพลงยาวนิราศเสด็จไปตีเมืองพม่า
3) เจ้าพระยาพระคลัง(หน) แต่ง
1. ราชาธิราช
2. สามก๊ก
3. สมบัติอมรินทร์คำกลอน
6.1 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 1 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่ง
1. เพลงยาวรบพม่าที่ท่าดินแดง
2. บทละครเรื่องอุณรุท
3. บทละครเรื่องรามเกียรติ์
4. บทละครเรื่องดาหลัง
5. บทละครเรื่องอิเหนา
6. กฎหมายตราสามดวง
2) สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท แต่ง
1. นิราศเสด็จไปรบพม่าที่นครศรีธรรมราช
2. เพลงยาวถวายพยากรณ์เมื่อเพลิงไหม้พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท
3. เพลงยาวนิราศเสด็จไปตีเมืองพม่า
3) เจ้าพระยาพระคลัง(หน) แต่ง
1. ราชาธิราช
2. สามก๊ก
3. สมบัติอมรินทร์คำกลอน
4.
บทมโหรีเรื่องกากี
5. ลิลิตพยุตราเพชรพวง
6. ลิลิตศรีวิชัยชาดก
7. ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์กุมารและกัณฑ์มัทรี
4) พระเทพโมลี (กลิ่น) แต่ง
1. ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มหาพน
2. มหาชาติคำหลวง กัณฑ์ทานกัณฑ์
3. นิราศตลาดเกรียบ
5) พระธรรมปรีชา(แก้ว) แต่ง ไตรภูมิโลกวินิจฉัยกถา
6) สมเด็จกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข แต่ง ชิดก๊กไซฮั่น
7) เจ้าพระยาพิพิธชัย แต่ง พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ
8) พระวิเชียรปรีชา แต่ง พงศาวดารเหนือ
9) ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง : นิราศอิหร่านราชธรรม
6.2 วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 2 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แต่ง
1. บทละครเรื่องอิเหนา
2. บทละครเรื่องรามเกียรติ์
3. บทละครนอก 5 เรื่อง คือ ไชยเชษฐ์ มณีพิไชย คาวี สังข์ทอง ไกรทอง
4. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานและว่าด้วยงานนักขัตฤกษ์
5. บทพากย์โขน ตอนนางลอย นาคบาศ พรหมาสตร์ และเอราวัณ
6. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วเป็นชู้กับนางพิม ขุนแผนขึ้นเรือน
7. ขุนช้าง ขุนแผนเข้าห้องนางแก้วกิริยา และขุนแผนพานางวันทองหนี
2) นายนรินทร์ธิเบศร์ แต่ง โคลงนิราศนรินทร์
3) พระยาตรังคภูมิบาล แต่ง
1. โคลงนิราศตามเสด็จลำน้ำน้อย
2. โคลงนิราศพระยาตรัง
3. โคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
4. เพลงยาว
5. โคลงกวีโบราณ
4 ) พระสุนทรโวหาร(ภู่) แต่ง
1. นิราศ 9 เรื่อง คือ เมืองแกลง พระบาท ภูเขาทอง วัดเจ้าฟ้า อิเหนา สุพรรณ รำพันพิลาป พระประธม เมืองเพชร
2. กลอนนิยาย 4 เรื่อง คือ โคบุตร สิงหไตรภพ ลักษณวงศ์ พระอภัยมณี
3. เสภา 2 เรื่อง คือ ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม พระราชพงศาวดาร
4. กลอนสุภาษิต 3 เรื่อง คือ สุภาษิตสอนหญิง เพลงยาวถวายโอวาท สวัสดิ รักษา
5. กาพย์ 1 เรื่อง คือ พระไชยสุริยา
6. บทเห่ 4 เรื่อง คือ กากี จับระบำ พระอภัยมณี โคบุตร
7. บทละคร 1 เรื่อง คือ อภัยนุราช
5) คณะนักปราชญ์ราชกวี(ไม่ปรากฏนาม) แต่ง
1. มหาชาติคำหลวง 6 กัณฑ์
2. พงศาวดารจีนแปลเรื่อง เลียดก๊ก ห้องสิน ตั้งฮั่น
5. ลิลิตพยุตราเพชรพวง
6. ลิลิตศรีวิชัยชาดก
7. ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์กุมารและกัณฑ์มัทรี
4) พระเทพโมลี (กลิ่น) แต่ง
1. ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มหาพน
2. มหาชาติคำหลวง กัณฑ์ทานกัณฑ์
3. นิราศตลาดเกรียบ
5) พระธรรมปรีชา(แก้ว) แต่ง ไตรภูมิโลกวินิจฉัยกถา
6) สมเด็จกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข แต่ง ชิดก๊กไซฮั่น
7) เจ้าพระยาพิพิธชัย แต่ง พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ
8) พระวิเชียรปรีชา แต่ง พงศาวดารเหนือ
9) ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง : นิราศอิหร่านราชธรรม
6.2 วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 2 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แต่ง
1. บทละครเรื่องอิเหนา
2. บทละครเรื่องรามเกียรติ์
3. บทละครนอก 5 เรื่อง คือ ไชยเชษฐ์ มณีพิไชย คาวี สังข์ทอง ไกรทอง
4. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานและว่าด้วยงานนักขัตฤกษ์
5. บทพากย์โขน ตอนนางลอย นาคบาศ พรหมาสตร์ และเอราวัณ
6. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วเป็นชู้กับนางพิม ขุนแผนขึ้นเรือน
7. ขุนช้าง ขุนแผนเข้าห้องนางแก้วกิริยา และขุนแผนพานางวันทองหนี
2) นายนรินทร์ธิเบศร์ แต่ง โคลงนิราศนรินทร์
3) พระยาตรังคภูมิบาล แต่ง
1. โคลงนิราศตามเสด็จลำน้ำน้อย
2. โคลงนิราศพระยาตรัง
3. โคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
4. เพลงยาว
5. โคลงกวีโบราณ
4 ) พระสุนทรโวหาร(ภู่) แต่ง
1. นิราศ 9 เรื่อง คือ เมืองแกลง พระบาท ภูเขาทอง วัดเจ้าฟ้า อิเหนา สุพรรณ รำพันพิลาป พระประธม เมืองเพชร
2. กลอนนิยาย 4 เรื่อง คือ โคบุตร สิงหไตรภพ ลักษณวงศ์ พระอภัยมณี
3. เสภา 2 เรื่อง คือ ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม พระราชพงศาวดาร
4. กลอนสุภาษิต 3 เรื่อง คือ สุภาษิตสอนหญิง เพลงยาวถวายโอวาท สวัสดิ รักษา
5. กาพย์ 1 เรื่อง คือ พระไชยสุริยา
6. บทเห่ 4 เรื่อง คือ กากี จับระบำ พระอภัยมณี โคบุตร
7. บทละคร 1 เรื่อง คือ อภัยนุราช
5) คณะนักปราชญ์ราชกวี(ไม่ปรากฏนาม) แต่ง
1. มหาชาติคำหลวง 6 กัณฑ์
2. พงศาวดารจีนแปลเรื่อง เลียดก๊ก ห้องสิน ตั้งฮั่น
6.3 วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 3 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 แต่ง
1. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างขอนางพิมและขุนช้างตามนางวันทอง
2. โคลงยอพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
3. บทละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย
2) ทรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 3 ได้แก่
1. เพลงยาวเรื่องพระราชปรารภการจารึกความรู้บนแผ่นศิลาและเรื่องปลงสังขาร
2. โคลงฤาษีดัดตน (จารึกวัดพระเชตุพนฯ)
3. เพลงยาวกลบท
4. พระบรมราโชวาทและพระราชกระแสรับสั่งต่างๆ
5. พระราชปุจฉาและพระราชปรารภต่างๆ
6. ประกาศห้ามสูบฝิ่น
7. นิทานแทรกในเรื่องนางนพมาศ
3) สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส แต่ง
1. ลิลิตตะเลงพ่าย
2. สมุทรโฆษคำฉันท์
3. ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
4. สรรพสิทธิ์คำฉันท์
5. กฤษณาสอนน้องคำฉันท์
6. ลิลิตกระบวนพยุหยาตราเสด็จทางชลมารคและสถลมารค
7. โคลงดั้นเรื่องปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ
8. เพลงยาวเจ้าพระ
9. กาพย์ขับไม้กล่อมช้างพัง
10. พระปฐมสมโพธิกถา
11. ตำราฉันท์มาตราพฤติและวรรณพฤติ
12. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
4) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเดชาดิศร แต่ง
1. โลกนิติคำโคลง
2. โคลงนิราศเสด็จไปทัพเวียงจันทร์
3. ฉันท์ดุษฎีสังเวยต่างๆ
4. โคลง (จารึกวัดพระเชตุพนฯ)
5) พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท แต่ง
1. นิราศพระประธม
2. โคลงจินดามณี
3. นิราศสุพรรณ
4. กลอนกลบทสิงโตเล่นหาง
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 3 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 แต่ง
1. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างขอนางพิมและขุนช้างตามนางวันทอง
2. โคลงยอพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
3. บทละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย
2) ทรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 3 ได้แก่
1. เพลงยาวเรื่องพระราชปรารภการจารึกความรู้บนแผ่นศิลาและเรื่องปลงสังขาร
2. โคลงฤาษีดัดตน (จารึกวัดพระเชตุพนฯ)
3. เพลงยาวกลบท
4. พระบรมราโชวาทและพระราชกระแสรับสั่งต่างๆ
5. พระราชปุจฉาและพระราชปรารภต่างๆ
6. ประกาศห้ามสูบฝิ่น
7. นิทานแทรกในเรื่องนางนพมาศ
3) สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส แต่ง
1. ลิลิตตะเลงพ่าย
2. สมุทรโฆษคำฉันท์
3. ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
4. สรรพสิทธิ์คำฉันท์
5. กฤษณาสอนน้องคำฉันท์
6. ลิลิตกระบวนพยุหยาตราเสด็จทางชลมารคและสถลมารค
7. โคลงดั้นเรื่องปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ
8. เพลงยาวเจ้าพระ
9. กาพย์ขับไม้กล่อมช้างพัง
10. พระปฐมสมโพธิกถา
11. ตำราฉันท์มาตราพฤติและวรรณพฤติ
12. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
4) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเดชาดิศร แต่ง
1. โลกนิติคำโคลง
2. โคลงนิราศเสด็จไปทัพเวียงจันทร์
3. ฉันท์ดุษฎีสังเวยต่างๆ
4. โคลง (จารึกวัดพระเชตุพนฯ)
5) พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท แต่ง
1. นิราศพระประธม
2. โคลงจินดามณี
3. นิราศสุพรรณ
4. กลอนกลบทสิงโตเล่นหาง
6) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหมื่นไกรสรวิชิต แต่ง
1. โคลงฤาษีดัดตน
2. โคลงกลบทกบเต้นไต่รยางค์
3. เพลงยาวกลบท
7) พระมหามนตรี(ทรัพย์) แต่ง
1. บทละครเรื่องระเด่นลันได
2. เพลงยาวว่ากระทบพระยามหาเทพ
3. โคลงฤาษีดัดตน
8) กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์ แต่ง
1. บทละครนอกเรื่องพระลอนรลักษณ์
2. เพลงยาวกรมศักดิ์
1. โคลงฤาษีดัดตน
2. โคลงกลบทกบเต้นไต่รยางค์
3. เพลงยาวกลบท
7) พระมหามนตรี(ทรัพย์) แต่ง
1. บทละครเรื่องระเด่นลันได
2. เพลงยาวว่ากระทบพระยามหาเทพ
3. โคลงฤาษีดัดตน
8) กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์ แต่ง
1. บทละครนอกเรื่องพระลอนรลักษณ์
2. เพลงยาวกรมศักดิ์
6.4 วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 4 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ง
1. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนพระรามเดินดง
2. มหาชาติ 5 กัณฑ์ คือ วนปเวสน์ จุลพน มหาพน สักกบรรพ และ
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 4 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ง
1. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนพระรามเดินดง
2. มหาชาติ 5 กัณฑ์ คือ วนปเวสน์ จุลพน มหาพน สักกบรรพ และ
ฉกษัตริย์
3. ประกาศและพระบรมราชาธิบาย
4. บทจับระบำเรื่องรามสูรและเมขลา นารายณ์ปราบนนทุก
5. บทพระราชนิพนธ์เบ็ดเตล็ด เช่น บทเบิกโรงละครหลวง บทรำดอกไม้เงินทอง
6. จารึกวัดพระเชตุพนธ์
2) หม่อมเจ้าอิศรญาณ แต่ง อิศรญาณภาษิต
3) หม่อมราโชทัย (ม.ร.ว. กระต่าย อิศรางกูรฯ) แต่ง
3. ประกาศและพระบรมราชาธิบาย
4. บทจับระบำเรื่องรามสูรและเมขลา นารายณ์ปราบนนทุก
5. บทพระราชนิพนธ์เบ็ดเตล็ด เช่น บทเบิกโรงละครหลวง บทรำดอกไม้เงินทอง
6. จารึกวัดพระเชตุพนธ์
2) หม่อมเจ้าอิศรญาณ แต่ง อิศรญาณภาษิต
3) หม่อมราโชทัย (ม.ร.ว. กระต่าย อิศรางกูรฯ) แต่ง
1.
จดหมายเหตุเรื่องราชทูตไทยไปลอนดอน
2. นิราศลอนดอน
2. นิราศลอนดอน
6.5 วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่
5 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ง
1. พระราชพิธีสิบสองเดือน
2. ไกลบ้าน
3. พระราชวิจารณ์
4. บทละครเรื่องเงาะป่า
5. ลิลิตนิทราชาคริต
6. บทละครเรื่องวงศเทวราช
7. กวีนิพนธ์เบ็ดเตล็ด เช่น กาพย์เห่เรือ โคลงสุภาษิต โคลงรามเกียรติ์
8. บันทึกและจดหมายเหตุต่างๆ
2) พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) แต่ง
1. แบบเรียนภาษาไทย 6 เล่ม
2. พรรณพฤกษาและสัตวาภิธาน
3. คำฉันท์กล่อมช้าง
4. คำนมัสการคุณานุคุณ
3) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ แต่ง
1. เฉลิมพระเกียรติกษัตริย์คำฉันท์
2. ลิลิตมหามงกุฎราชคุณานุสรณ์
3. ลิลิตตำนานพระแท่นมนังคศิลา
4. พระราชพงศาวดารพม่า
5. บทละครเรื่องสาวเครือฟ้า
6. บทละครเรื่องพระลอ
7. บทละครเรื่องไกรทอง
8. บทละครพงศาวดารเรื่องพันท้ายนรสิงห์
6.6. วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 6 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ง
1. บทละครพูดต่างๆ หัวใจนักรบ มัทนะพาธา พระร่วง วิวาหพระสมุทร โพงพาง เวนิสวาณิช เห็นแก่ลูก ตามใจท่าน โรเมโอและจูเลียต
2. บทละครเบิกโรงเรื่องดึกดำบรรพ์
3. บทละครดึกดำบรรพ์
4. บทละครร้อง เช่น สาวิตรี ท้าวแสนปม
5. บทละครรำ เช่น ศกุนตลา
6. บทโขน แก่ รามเกียรติ์
7. บ่อเกิดรามเกียรติ์
8. เมืองไทยจงตื่นเถิด
9. ลัทธิเอาอย่าง
10. พระนลคำหลวง
2) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ แต่ง
1. พงศาวดารเรื่องไทยรบพม่า
2. นิราศนครวัด
3. เที่ยวเมืองพม่า
4. นิทานโบราณคดี
5. ความทรงจำ
6. สาส์นสมเด็จ
7. เสด็จประพาสต้น
8. ประวัติกวีและวรรณคดีวิจารณ์
9. ฉันท์ทูลเกล้าถวายรัชกาลที่ 5
3) พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ แต่ง
1. จดหมายจางวางหร่ำ
2. นิทานเวตาล
1) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ง
1. พระราชพิธีสิบสองเดือน
2. ไกลบ้าน
3. พระราชวิจารณ์
4. บทละครเรื่องเงาะป่า
5. ลิลิตนิทราชาคริต
6. บทละครเรื่องวงศเทวราช
7. กวีนิพนธ์เบ็ดเตล็ด เช่น กาพย์เห่เรือ โคลงสุภาษิต โคลงรามเกียรติ์
8. บันทึกและจดหมายเหตุต่างๆ
2) พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) แต่ง
1. แบบเรียนภาษาไทย 6 เล่ม
2. พรรณพฤกษาและสัตวาภิธาน
3. คำฉันท์กล่อมช้าง
4. คำนมัสการคุณานุคุณ
3) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ แต่ง
1. เฉลิมพระเกียรติกษัตริย์คำฉันท์
2. ลิลิตมหามงกุฎราชคุณานุสรณ์
3. ลิลิตตำนานพระแท่นมนังคศิลา
4. พระราชพงศาวดารพม่า
5. บทละครเรื่องสาวเครือฟ้า
6. บทละครเรื่องพระลอ
7. บทละครเรื่องไกรทอง
8. บทละครพงศาวดารเรื่องพันท้ายนรสิงห์
6.6. วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 6 มีดังนี้
1) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ง
1. บทละครพูดต่างๆ หัวใจนักรบ มัทนะพาธา พระร่วง วิวาหพระสมุทร โพงพาง เวนิสวาณิช เห็นแก่ลูก ตามใจท่าน โรเมโอและจูเลียต
2. บทละครเบิกโรงเรื่องดึกดำบรรพ์
3. บทละครดึกดำบรรพ์
4. บทละครร้อง เช่น สาวิตรี ท้าวแสนปม
5. บทละครรำ เช่น ศกุนตลา
6. บทโขน แก่ รามเกียรติ์
7. บ่อเกิดรามเกียรติ์
8. เมืองไทยจงตื่นเถิด
9. ลัทธิเอาอย่าง
10. พระนลคำหลวง
2) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ แต่ง
1. พงศาวดารเรื่องไทยรบพม่า
2. นิราศนครวัด
3. เที่ยวเมืองพม่า
4. นิทานโบราณคดี
5. ความทรงจำ
6. สาส์นสมเด็จ
7. เสด็จประพาสต้น
8. ประวัติกวีและวรรณคดีวิจารณ์
9. ฉันท์ทูลเกล้าถวายรัชกาลที่ 5
3) พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ แต่ง
1. จดหมายจางวางหร่ำ
2. นิทานเวตาล
3.
ประมวลนิทาน น.ม.ส.
4. พระนลคำหลวง
5. กนกนคร
6. สามกรุง
4) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ แต่ง
1. อุณรุท ตอน สมอุษา
2. สังข์ทอง ตอน ถ่วงสังข์
3. อิเหนา ตอนเผาเมือง
4. บทเพลง เช่น เพลงเขมรไทรโยค เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงตับต่างๆ
5. กาพย์เห่เรือ
5) เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี แต่ง
1. โคลงกลอนของครูเทพ
2. บันเทิงคดีต่างๆ
3. บทละครพูด
4. แบบเรียนธรรมจริยา
6) พระยาอุปกิตศิลปะสาร แต่ง
1. คำประพันธ์บางเรื่อง
2. ชุมนุมนิพนธ์
3. สงครามมหาภารตะคำกลอน
7) พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน) แต่ง อิลราชคำฉันท์
8) นายชิต บุรทัต แต่ง
1. สามัคคีเภทคำฉันท์
2. กวีนิพนธ์บางเรื่อง
3. พระเกียรติงานพระเมรุทองท้องสนามหลวง
9) พระยาอนุมานราชธนและพระสารประเสริฐ แต่ง
1. กามนิต วาสิฏฐี
2. หิโตปเทศ
4. พระนลคำหลวง
5. กนกนคร
6. สามกรุง
4) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ แต่ง
1. อุณรุท ตอน สมอุษา
2. สังข์ทอง ตอน ถ่วงสังข์
3. อิเหนา ตอนเผาเมือง
4. บทเพลง เช่น เพลงเขมรไทรโยค เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงตับต่างๆ
5. กาพย์เห่เรือ
5) เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี แต่ง
1. โคลงกลอนของครูเทพ
2. บันเทิงคดีต่างๆ
3. บทละครพูด
4. แบบเรียนธรรมจริยา
6) พระยาอุปกิตศิลปะสาร แต่ง
1. คำประพันธ์บางเรื่อง
2. ชุมนุมนิพนธ์
3. สงครามมหาภารตะคำกลอน
7) พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน) แต่ง อิลราชคำฉันท์
8) นายชิต บุรทัต แต่ง
1. สามัคคีเภทคำฉันท์
2. กวีนิพนธ์บางเรื่อง
3. พระเกียรติงานพระเมรุทองท้องสนามหลวง
9) พระยาอนุมานราชธนและพระสารประเสริฐ แต่ง
1. กามนิต วาสิฏฐี
2. หิโตปเทศ
3. ทศมนตรี
4. สมญาภิธานรามเกียรติ์
4. สมญาภิธานรามเกียรติ์
7) วรรณคดีหลังสมัยรัชกาลที่ 6
นับตั้งแต่รัชกาลที่ 5 และ 6 อิทธิพลของวรรณคดียุโรปได้แผ่เข้ามาในประเทศไทย เป็นผล ให้วรรณคดีไทยเปลี่ยนแปลงรูปแบบและเนื้อหา เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 6 วรรณกรรมตามแบบฉบับดั้งเดิมขาดผู้อุปถัมภ์ค้ำจุนอย่างจริงจัง ประกอบกับมีปัจจัยหลายอย่างเป็นมูลเหตุให้วรรณกรรมไทยมีวิวัฒนาการอย่างรวดเร็วไปตามแนวตะวันตกอันเป็นลักษณะสำคัญของวรรณกรรมปัจจุบัน ล้ำหน้าวรรณกรรมแบบดั้งเดิมไปเป็นอันมาก แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้วรรณกรรมปัจจุบันจะรุดหน้าไปเพียงใด ใช่ว่าวรรณกรรมแบบเดิมจะเสื่อมความนิยมไปจนหมดสิ้นก็หาไม่ เพียงลดประมาณลงไปเท่านั้น
นับตั้งแต่รัชกาลที่ 5 และ 6 อิทธิพลของวรรณคดียุโรปได้แผ่เข้ามาในประเทศไทย เป็นผล ให้วรรณคดีไทยเปลี่ยนแปลงรูปแบบและเนื้อหา เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 6 วรรณกรรมตามแบบฉบับดั้งเดิมขาดผู้อุปถัมภ์ค้ำจุนอย่างจริงจัง ประกอบกับมีปัจจัยหลายอย่างเป็นมูลเหตุให้วรรณกรรมไทยมีวิวัฒนาการอย่างรวดเร็วไปตามแนวตะวันตกอันเป็นลักษณะสำคัญของวรรณกรรมปัจจุบัน ล้ำหน้าวรรณกรรมแบบดั้งเดิมไปเป็นอันมาก แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้วรรณกรรมปัจจุบันจะรุดหน้าไปเพียงใด ใช่ว่าวรรณกรรมแบบเดิมจะเสื่อมความนิยมไปจนหมดสิ้นก็หาไม่ เพียงลดประมาณลงไปเท่านั้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น